(ต๊ะตุ๊งตวง)การประชุมใหญ่การมีส่วนร่วมของประชาชน ครั้งที่ 1
งานจ้างปรับแบบรายละเอียดบริเวณอ ำเภอสีคิ้วและตัวเมือนครราชสีมา
ในโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงมาบกะเบา-ชุมทางถนนจิระ
วันนี้( 22มิ.ย.2561)เวลา 09.00-12.00น. ณ ห้องประชุมอรพิณโรงแรมสีมาธานี ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา การประชุมใหญ่การมีส่วนร่วมของประชาชน ครั้งที่ 1 (ปฐมนิเทศโครงการ)
งานจ้างปรับแบบรายละเอียดบริเวณอ ำเภอสีคิ้วและตัวเมืองนครราชสีมา
ในโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงมาบกะเบา-ชุมทางถนนจิระ
สัญญาที่ 2 คลองขนานจิตร – ชุมทางถนนจิระ
โดยนายวิเชียร จันทรโณทัย ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา ประธาน นายจุลพงษ์ จุฬานนท์ ผู้ช่วยผู้ว่าการด้านปฏิบัติการ
การรถไฟแห่งประเทศไทย กล่าวต้อนรับ และผู้เข้าร่วมงานจำนวนผู้เข้าร่วมประชุม โดยประมาณ 267 ท่าน
ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2559 อนุมัติให้การรถไฟแห่งประเทศไทย ด าเนิน
โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงมาบกะเบา – ชุมทางถนนจิระ (รูปที่ 1) ซึ่งการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ได้
พิจารณาแบ่งสัญญาออกเป็น 4 สัญญา ประกอบด้วย :
สัญญาที่ 1 ช่วงมาบกะเบา – คลองขนานจิตร
สัญญาที่ 2 ช่วงคลองขนานจิตร – ชุมทางถนนจิระ
สัญญาที่ 3 อุโมงค์รถไฟ
สัญญาที่ 4 สัญญาโครงการจัดหาและติดตั้งระบบอาณัติสัญญาณและโทรคมนาคม ในโครงการ
ก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงมาบกะเบา – ชุมทางถนนจิระ ต่อมาจังหวัดนครราชสีมาและ
อ ำเภอสีคิ้ว ได้
นำ เสนอข้อเรียกร้องให้มีการปรับปรุงแบบก่อสร้าง ในช่วงที่
ผ่านเมืองนครราชสีมาและที่ผ่านอ าเภอสีคิ้วใหม่ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม โดยต้องการให้ท าการ
ก่อสร้างเป็นทางรถไฟยกระดับแทนระดับพื้นดิน ด้วยเหตุผลว่าไม่ต้องการแบ่งแยกชุมชนออกเป็นสองฝั่งและกังวล ผลกระทบด้านการจราจร ซึ่งทางกระทรวงคมนาคม การรถไฟแห่งประเทศไทย จังหวัดนครราชสีมา และอ ำเภอ สีคิ้ว ได้พิจารณารูปแบบแก้ไขร่วมกันแล้ว มีข้อสรุปในเบื้องต้นว่าบางช่วงจะท าการยกระดับทางรถไฟและบางช่วง จะเป็นคันทางรถไฟสูง แล้วก่อสร้างเป็นถนนลอดใต้ทางรถไฟ
การรถไฟแห่งประเทศไทย มีความประสงค์จะว่าจ้างที่ปรึกษา เพื่อปรับแบบรายละเอียดบริเวณ
อ ำเภอ สีคิ้วและตัวเมืองนครราชสีมา รวมทั้งจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (กรณีเปลี่ยนแปลง
รายละเอียดโครงการ) เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรในเขตเมือง โดยค ำนึงถึงความเหมาะสมทั้งทางด้านกายภาพ การใช้ประโยชน์ของพื้นที่และต้นทุนค่าก่อสร้างให้สอดคล้องกับความต้องการของทุกภาคส่วน รวมถึงให้
ความส ำคัญต่อการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟ (Transit Oriented Development) โดยเชื่อมโยงโครงข่าย
คมนาคมไปสู่ศูนย์กลางเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วงจากสถานีรถไฟภูเขาลาดจนถึงสะพานต่างระดับเลี่ยงเมืองนครราชสีมา ก่อสร้างเป็นคันทาง
รถไฟสูงประมาณ 3 – 4 เมตร และใช้ช่องลอดรูปสี่เหลี่ยมสูง 3 เมตร เพื่อให้รถยนต์ขนาดเล็ก
สามารถลอดผ่านได้ ส่วนรถขนาดใหญ่จะใช้สะพานต่างระดับเลี่ยงเมืองนครราชสีมาแทน
ช่วงจากบริเวณสะพานต่างระดับเลี่ยงเมืองนครราชสีมาจนถึงหน้าสถานีรถไฟชุมทางถนนจิระ ก่อสร้างเป็นทางรถไฟยกระดับ (ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร) เพื่อให้รถยนต์ทุกขนาด
สามารถสัญจรผ่านได้
ช่วงจากสถานีรถไฟชุมทางถนนจิระจนถึงทางตัดผ่านรถไฟถนนไชยณรงค์ ก่อสร้างเป็นคันทาง รถไฟสูงประมาณ 3 – 4 เมตร และใช้ช่องลอดรูปสี่เหลี่ยมสูง 3 เมตร เพื่อให้รถยนต์ขนาดเล็ก
สามารถลอดผ่านได้ส่วนรถขนาดใหญ่จะใช้สะพานหัวทะเลแทน
มีการก่อสร้างทางรถไฟเพื่อใช้เป็นทางขึ้นลงระหว่างทางรถไฟยกระดับกับย่านสถานี
นครราชสีมาซึ่งอยู่ระดับดิน เพื่อให้สามารถใช้งานย่านสถานีรถไฟนครราชสีมาส าหรับการเดินรถ ในกิจการของการรถไฟฯ ได้ไม่มีการก่อสร้างสะพานข้ามทางรถไฟ (Overpass) สะพานรูปตัวยู (U-turn Bridge) และ สะพานข้ามทางรถไฟแบบหลายทิศทาง (Interchange Bridge) ในช่วงบริเวณดังกล่าวทั้งหมด กรณีที่ต้องรื้อย้ายสะพานรถยนต์ต่างระดับบริเวณทางหลวงหมายเลข 2 หน้าโรงแรมสีมาธานี
ให้มีการจัดรูปแบบการจราจรของถนนที่จะก่อสร้างใหม่ และในขณะก่อสร้างต้องรูปแบบ การจราจรชั่วคราวให้มีผลกระทบต่อประชาชนผู้สัญจรให้น้อยที่สุด
มีการก่อสร้างรั้วเพื่อความปลอดภัยต่อการเดินรถตลอดสองข้างทางรถไฟ และเปิดช่องให้ รถยนต์สัญจรได้เท่าที่จำเป็น
นายไพบูลย์ พฤกษ์พนาเวศ นายกเทศมนตรีหนองไผ่ล้อม ได้เสนอขอทางเข้าออกของกองทัพภาคที่2และความปลอดภัยไม่เพียงพอ โดยให้ถอยขึ้นไปอีก
งานการมีส่วนร่วมของประชาชนและประชาสัมพันธ์งานการมีส่วนร่วมของประชาชนและประชาสัมพันธ์โครงการ
การศึกษาโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงมาบกะเบา – ชุมทางถนนจิระ ได้มีการด ำเนินงานด้านการ
มีส่วนร่วมของประชาชนมาแล้วอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ขั้นของการศึกษาจัดท ำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น
(IEE) และรายงานการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ซึ่งได้ผ่านการพิจารณาให้ความเห็นชอบของ
ส ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) และคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
(กก.วล.) แล้ว อย่างไรก็ตามเนื่องจากในการ
ส ำรวจและออกแบบรายละเอียดในครั้งนี้ มีความจ ำเป็นต้อง
เปลี่ยนแปลงรูปแบบโครงการที่ต่างไปจากที่เสนอไว้ในรายงาน EIA ฉบับดังกล่าว ดังนั้นจึงต้องมีการดำ เนินงานด้าน การมีส่วนร่วมของประชาชนและประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องควบคู่ไปด้วย ตามแนวทางการดำเนินงานด้านการมี
ส่วนร่วมของประชาชนในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชน พ.ศ. 2548 และแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ของ สผ. ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมหลักๆ ดังนี้
1) การประชุมใหญ่การมีส่วนร่วมของประชาชน จ านวน 2 ครั้ง
2) การพบปะหารือและรับฟังความคิดเห็นของผู้น าชุมชนเจ้าหน้าที่และประชาชนในพื้นที่โครงการ
3) การประชุมกลุ่มย่อยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงการ
นอกจากนี้ยังมีงานการจัดท าสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร รายละเอียดของการศึกษา
การผลิตสื่อประกอบการจัดประชุม การจัดบอร์ดนิทรรศการ การประสานงานและส่งข่าวให้กับสื่อมวลชนท้องถิ่นาสัมพันธ์โครงการ
การศึกษาโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงมาบกะเบา – ชุมทางถนนจิระ ได้มีการด าเนินงานด้านการ
มีส่วนร่วมของประชาชนมาแล้วอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ขั้นของการศึกษาจัดท ารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น
(IEE) และรายงานการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ซึ่งได้ผ่านการพิจารณาให้ความเห็นชอบของ
ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) และคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
(กก.วล.) แล้ว อย่างไรก็ตามเนื่องจากในการ
ส ำรวจและออกแบบรายละเอียดในครั้งนี้ มีความจ ำเป็นต้อง
เปลี่ยนแปลงรูปแบบโครงการที่ต่างไปจากที่เสนอไว้ในรายงาน EIA ฉบับดังกล่าว ดังนั้นจึงต้องมีการด ำเนินงานด้าน การมีส่วนร่วมของประชาชนและประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องควบคู่ไปด้วย ตามแนวทางการดำ เนินงานด้านการมี
ส่วนร่วมของประชาชนในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชน พ.ศ. 2548 และแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ของ สผ. ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมหลักๆ ดังนี้
1) การประชุมใหญ่การมีส่วนร่วมของประชาชน จำนวน 2 ครั้ง
2) การพบปะหารือและรับฟังความคิดเห็นของผู้น าชุมชนเจ้าหน้าที่และประชาชนในพื้นที่โครงการ
3) การประชุมกลุ่มย่อยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงการและ
นอกจากนี้ยังมีงานการจัดท าสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร รายละเอียดของการศึกษา
การผลิตสื่อประกอบการจัดประชุม การจัดบอร์ดนิทรรศการ การประสานงานและส่งข่าวให้กับสื่อมวลชนท้องถิ่น
ทั้งนี้ทางด้านประชาชนผู้เสียผลประโยชน์เช่นเรื่อง การค้าขาย ต่างก็ขัดค้าน อยากให้สร้างเป็นทางรางรถไฟที่สะพานสูงมากกว่ารางรถไฟบนผิวถนนเพราะต้องทำกำแพงกันทางรถไฟวิ่ง ทำให้เสียพื้นที่ วิวทิวทัศน์ในตัวเมืองอีกด้วย
ติดต่อขอข้อมูลเพิ่มเติมและเสนอข้อคิดเห็น
การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) : ฝ่ายโครงการพิเศษและก่อสร้าง
โทรศัพท์0 2220 4766 โทรสาร 0 2221 5763
กลุ่มบริษัทที่ปรึกษา :
ที่ปรึกษาด้านวิศวกรรม
บริษัท เอเชี่ยน เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแต้นส์ จ ากัด ผู้ประสานงาน : คุณธิติรักษ์ อัครกุล
โทรศัพท์ 0 2636 7510 ต่อ 346 โทรสาร 0 2236 6087
ที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน
บริษัท เอ็นริช คอนซัลแตนท์ จ ากัด ผู้ประสานงาน : คุณวรพัชร วิชัยสุชาติ
โทรศัพท์ 0 2552 7369 ต่อ 128 โทรสาร0 2522 7368
ภาพ-ข่าวสันติ วงษาเกษ จ.นครราชสีมา